6 อันดับตัวการที่ก่อภูมิแพ้ ที่คนไทยแพ้มากที่สุด!
1.ไรฝุ่น
ควรเลือกเครื่องนอนที่ป้องกันไรฝุ่นได้และหมั่นซักผ้าปูที่นอน ปลอกหมอนเป็นประจำทุกเดือน และควรเลี่ยงการสะสมตุ๊กตาไว้ในห้องนอน
2.แมลงสาบ
หมั่นเก็บขยะ เศษอาหาร กวาดถูพื้นกำจัดแหล่งน้ำขัง อยู่เสมอ เพื่อให้บ้านสะอาด ป้องกันแมลงสาบมาอาศัยอยู่
3.ละอองเกสรดอกไม้
หมั่นตัดหญ้า วัชพืชที่บ้าน ควรสวมใส่หน้ากากอนามัยถ้าไม่สามารถเลี่ยงเกสรดอกไม้ได้ ติดตั้งเครื่องฟอกอากาศไว้ในบ้าน ก็จะเป็นตัวช่วยที่ดี
4.ขนสัตว์
ถ้ารู้ตัวว่าเป็นภูมิแพ้ขนสัตว์ ควรเลี่ยงการเลี้ยง หรือเล่นกับหมา แมว และควรใส่หน้ากากอนามัย หรือกินยาแก้แพ้กันไว้เมื่อต้องเล่นกับสัตว์เลี้ยง
5.ควันบุหรี่/ควันธูป
หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ผู้ที่สูบบุหรี่ และสถานที่ที่จุดธูปเยอะ และควรพกหน้ากากอนามัยติดตัวไว้ ถ้าต้องไปทำบุญตามสถานที่มงคลต่าง ๆ
6.อาหารทะเล
ถ้ารู้ตัวว่าแพ้ทานอาหารทะเล ควรงดทาน แต่ถ้าอยากทาน ให้ทานแต่น้อย และอาจทานยาแก้แพ้ดักไว้ก่อนได้
6 ตัวการก่อภูมิแพ้ ที่คนไทยแพ้มากที่สุด!
About author
Related posts
5 วิธีรับมือกับฝุ่นร้าย PM2.5 การป้องกันฝุ่น PM 2.5 เป็นสิ่งสำคัญเพื่อสุขภาพ โดยเฉพาะในช่วงที่ค่าฝุ่นละอองสูงเกินมาตรฐาน ซึ่งฝุ่น PM 2.5 คือฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน สามารถเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจและกระแสเลือด ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจ และอาจเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งได้ 1. สวมหน้ากากป้องกันฝุ่น หน้ากาก N95 หรือ KN95 มีความสามารถในการกรองฝุ่น PM 2.5 ได้ดี ควรสวมใส่เมื่อต้องออกจากบ้านในพื้นที่ที่มีฝุ่นสูง 2. หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหรือกิจกรรมกลางแจ้ง หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมนอกบ้านโดยเฉพาะในวันที่ค่าฝุ่นสูง ตรวจสอบคุณภาพอากาศผ่านแอปหรือเว็บไซต์ที่แสดงดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) 3. ปิดประตู หน้าต่างให้มิดชิด ป้องกันฝุ่นจากภายนอกเข้ามาภายในบ้าน โดยการปิดประตู หน้าต่าง หรือใช้ผ้าปิดรูระบายอากาศที่อาจมีฝุ่นเข้าได้ 4. ล้างหน้าหรือทำความสะอาดตัวหลังออกไปข้างนอก เมื่อกลับจากนอกบ้าน ควรล้างหน้า ล้างมือ และเปลี่ยนเสื้อผ้าเพื่อลดการสะสมฝุ่นบนร่างกาย 5. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอและดื่มน้ำเยอะๆ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การดูแลตัวเองที่ดีที่สุดคือการดูแลจากภายใน การออกกำลังกายและทานอาหารที่มีปะโยชน์ ยิ่งทำให้ร่างหายแข็งแรง ต่อสู้กับฝุ่นได้ดี อย่าลืมใส่หน้ากากป้องกันฝุ่น ดูแลสุขภาพกันด้วยนะคะทุกคน และอย่าลืมดื่ม “โพชง” ช่วยให้นอนหลับพักผ่อนสบายได้เต็มที่ Continue reading
เข้าปีใหม่แบบนี้ พลาดไม่ได้กับสีมงคลรายวันประจำปี 2568🌤 สายมูเตรียมตัวซื้อเสื้อใหม่ต้อนรับปี 2568 กันดีกว่า! พูดเลยว่าถึงจะใส่เสื้อสวยแค่ไหน แต่ถ้าเลือกใส่ผิดสีผิดวันก็พังได้ ทำไว้ก็ไม่เสียหาย บทความนี้ขอพาทุกคนมาดูเสียเสื้อมงคลที่ช่วยเสริมทั้งการงาน การเงิน ความรัก และสุขภาพ ในแต่ละวันกันเลย วันจันทร์💛 การงาน – สีม่วง การเงิน – สีเหลือง สีทอง ความรัก – สีน้ำเงิน สีฟ้า สีชมพู สุขภาพ – สีชมพูอ่อน สีฟ้าอ่อน วันอังคาร💗 การงาน – สีส้ม การเงิน – สีดำ สีเทา ความรัก – สีแดง สีส้ม สุขภาพ – สีชมพูอ่อน สีฟ้าอ่อน วันพุธ💚 การงาน – สีเหลือง สีชมพู การเงิน – สีฟ้า สีเขียว สีขาว ความรัก – สีดำ สีขาว สีทอง สุขภาพ – สีม่วง สีน้ำเงิน วันพฤหัสบดี🧡 การงาน – สีแดง การเงิน – สีชมพู ความรัก – สีแดง สีส้ม สุขภาพ –... Continue reading
ความสัมพันธ์ในครอบครัว : มีผลต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุอย่างไร ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้สูงอายุ การมีครอบครัวที่อบอุ่นและให้การสนับสนุน จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี แต่ในทางกลับกัน ความสัมพันธ์ที่ไม่ราบรื่นหรือขาดความอบอุ่นก็อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุได้ บทความนี้จะพาคุณไปสำรวจความเชื่อมโยงระหว่างความสัมพันธ์ในครอบครัวและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ รวมถึงวิธีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว ความสัมพันธ์ในครอบครัวส่งผลต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุอย่างไร? ความรู้สึกเป็นที่รักและต้องการ: เมื่อผู้สูงอายุได้รับความรัก ความเอาใจใส่ และความเคารพจากคนในครอบครัว จะรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและมีความสุข ลดความรู้สึกเหงาและโดดเดี่ยว: การมีปฏิสัมพันธ์กับคนในครอบครัวช่วยลดความรู้สึกเหงาและโดดเดี่ยว ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ เพิ่มความมั่นคงทางอารมณ์: ความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวช่วยให้ผู้สูงอายุมีความมั่นคงทางอารมณ์ สามารถรับมือกับความเครียดและปัญหาต่างๆ ได้ดีขึ้น ส่งเสริมสุขภาพกาย: ผู้สูงอายุที่มีความสุขจากความสัมพันธ์ในครอบครัวจะมีสุขภาพกายที่ดีขึ้น เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ดีขึ้น ลดความเสี่ยงของโรคทางจิตเวช: ความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวช่วยลดความเสี่ยงของโรคซึมเศร้า วิตกกังวล และภาวะสมองเสื่อม ปัญหาที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ในครอบครัวของผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงบทบาท: เมื่อผู้สูงอายุเกษียณอายุ หรือมีสุขภาพไม่แข็งแรง อาจทำให้รู้สึกว่าตนเองไม่มีประโยชน์และสูญเสียความมั่นใจ ความแตกต่างทางความคิด: ความแตกต่างทางความคิดระหว่างรุ่น อาจทำให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เข้าใจกัน ปัญหาทางการเงิน: ปัญหาทางการเงินอาจเป็นต้นเหตุของความเครียดและความขัดแย้งในครอบครัว การดูแลผู้สูงอายุ: การดูแลผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ อาจสร้างความเครียดให้กับทั้งผู้ดูแลและผู้สูงอายุ ความคาดหวังที่ไม่สมเหตุสมผล: ความคาดหวังที่ไม่สมเหตุสมผลของทั้งสองฝ่าย อาจทำให้เกิดความผิดหวังและความขัดแย้ง วิธีสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว สื่อสารกันอย่างเปิดใจ: การสื่อสารอย่างเปิดใจและตรงไปตรงมา ช่วยให้ทุกคนเข้าใจซึ่งกันและกัน ให้เวลาและความสนใจ: การให้เวลาและความสนใจกับผู้สูงอายุ ทำให้พวกเขารู้สึกว่าเป็นที่รักและต้องการ เคารพความคิดเห็น: การเคารพความคิดเห็นของผู้สูงอายุ แม้จะไม่เห็นด้วยก็ตาม จะช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ร่วมกิจกรรมกัน: การทำกิจกรรมร่วมกันเป็นครอบครัว ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์และสร้างความทรงจำดีๆ ขอความช่วยเหลือเมื่อต้องการ: หากรู้สึกว่าการดูแลผู้สูงอายุเป็นเรื่องยาก ควรขอความช่วยเหลือจากคนรอบข้างหรือผู้เชี่ยวชาญ ความสัมพันธ์ในครอบครัวมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัวจะช่วยให้ผู้สูงอายุมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีอายุยืนยาว การให้ความรัก ความเอาใจใส่ และการเคารพซึ่งกันและกัน คือกุญแจสำคัญในการสร้างความสัมพันธ์ที่อบอุ่นและยั่งยืน คำแนะนำเพิ่มเติม: จัดกิจกรรมครอบครัว: การจัดกิจกรรมครอบครัวเป็นประจำ เช่น การทานอาหารร่วมกัน การเดินทางท่องเที่ยว จะช่วยให้ทุกคนได้ใช้เวลาร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เรียนรู้ที่จะให้อภัย:... Continue reading
สุขภาพจิตผู้สูงอายุ : สิ่งสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การเข้าสู่วัยสูงอายุเป็นช่วงเวลาสำคัญของชีวิต แต่ก็มาพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและจิตใจที่หลากหลาย การดูแลสุขภาพกายเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ การมีสุขภาพจิตที่ดีจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างมาก บทความนี้จะพาคุณไปทำความเข้าใจถึงความสำคัญของสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ รวมถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบและวิธีการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี ทำไมสุขภาพจิตจึงสำคัญต่อผู้สูงอายุ? สุขภาพจิตที่ดีมีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในหลายด้าน ดังนี้ เพิ่มความสุข: สุขภาพจิตที่ดีทำให้ผู้สูงอายุมีความสุข สนุกกับชีวิต และสามารถรับมือกับความเครียดได้ดีขึ้น ลดความเสี่ยงของโรคเรื้อรัง: สุขภาพจิตที่ดีช่วยลดความเสี่ยงของโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคความจำเสื่อม เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของร่างกาย: สุขภาพจิตที่ดีช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ดีขึ้น ส่งผลให้ร่างกายแข็งแรง สร้างความสัมพันธ์ที่ดี: สุขภาพจิตที่ดีช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถสร้างและรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับคนรอบข้างได้ เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่า: สุขภาพจิตที่ดีทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและมีความหมายในชีวิต ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ: การเจ็บป่วยเรื้อรัง การสูญเสียความสามารถทางกายภาพ ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกอ่อนแอและท้อแท้ การสูญเสียคนใกล้ชิด: การสูญเสียคู่ชีวิต เพื่อน หรือญาติสนิท ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกโดดเดี่ยวและเศร้า การเปลี่ยนแปลงบทบาท: การเกษียณอายุ การย้ายที่อยู่อาศัย ทำให้ผู้สูงอายุต้องปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของชีวิต โรคทางจิตเวช: โรคซึมเศร้า วิตกกังวล เป็นปัญหาสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ วิธีการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีในผู้สูงอายุ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ: การออกกำลังกายช่วยให้ร่างกายหลั่งสารเอ็นโดรฟิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนแห่งความสุข รับประทานอาหารที่มีประโยชน์: อาหารที่มีประโยชน์ช่วยบำรุงสมองและร่างกาย พักผ่อนให้เพียงพอ: การนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอช่วยให้ร่างกายและจิตใจได้ผ่อนคลาย สร้างความสัมพันธ์ที่ดี: การมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง ช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกไม่โดดเดี่ยว ทำกิจกรรมที่สนใจ: การทำกิจกรรมที่ชอบ เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง วาดภาพ ช่วยให้ผู้สูงอายุมีความสุขและผ่อนคลาย ฝึกสติ: การฝึกสติช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถควบคุมอารมณ์และความคิดได้ดีขึ้น ปรึกษาแพทย์: หากมีอาการของโรคซึมเศร้า วิตกกังวล หรือปัญหาสุขภาพจิตอื่นๆ ควรปรึกษาแพทย์ บทสรุป สุขภาพจิตที่ดีเป็นสิ่งสำคัญต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพจิตจึงเป็นเรื่องที่ทุกคนในครอบครัวควรให้ความสำคัญ การให้กำลังใจ การดูแลเอาใจใส่ และการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพจิตที่ดี จะช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพ คำแนะนำเพิ่มเติม:... Continue reading
เครื่องดื่มสมุนไพร ที่ไม่ควรดื่มสำหรับผู้สูงอายุ : สิ่งที่ควรรู้ก่อนดื่ม สมุนไพรไทยเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่สืบทอดกันมาช้านาน มีสรรพคุณทางยาที่หลากหลายและเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ แต่สำหรับผู้สูงอายุ การเลือกดื่มสมุนไพรต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ เนื่องจากร่างกายของผู้สูงอายุมีความเปลี่ยนแปลงและอาจมีโรคประจำตัว การดื่มสมุนไพรบางชนิดอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงได้ บทความนี้จะพาคุณไปทำความเข้าใจถึงเครื่องดื่มสมุนไพรที่ไม่ควรดื่มสำหรับผู้สูงอายุ และเหตุผลที่ควรหลีกเลี่ยง เหตุผลที่ผู้สูงอายุควรระมัดระวังในการดื่มสมุนไพร ปฏิกิริยากับยา: สมุนไพรบางชนิดอาจมีปฏิกิริยากับยาที่ผู้สูงอายุรับประทานอยู่ ทำให้เกิดผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ โรคประจำตัว: ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักมีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ การดื่มสมุนไพรบางชนิดอาจส่งผลกระทบต่อโรคเหล่านี้ ระบบการทำงานของร่างกายเปลี่ยนแปลง: เมื่ออายุมากขึ้น ระบบการทำงานของร่างกายจะเปลี่ยนแปลงไป การตอบสนองต่อสมุนไพรอาจแตกต่างจากคนหนุ่มสาว ความเข้มข้นของสารในสมุนไพร: การเตรียมสมุนไพรที่ไม่ถูกวิธี อาจทำให้เกิดความเข้มข้นของสารบางชนิดสูงเกินไป ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เครื่องดื่มสมุนไพรที่ควรระวังสำหรับผู้สูงอายุ สมุนไพรที่มีฤทธิ์กระตุ้น: สมุนไพรบางชนิด เช่น กาแฟ ชาเขียว มีฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาท ทำให้ใจสั่น นอนไม่หลับ ไม่เหมาะสำหรับผู้สูงอายุที่มักมีปัญหาเรื่องการนอนหลับ สมุนไพรที่มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ: สมุนไพรบางชนิด เช่น กระชายขาว มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ หากดื่มมากเกินไปอาจทำให้ร่างกายขาดน้ำได้ สมุนไพรที่มีฤทธิ์ลดความดัน: ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตต่ำ ควรหลีกเลี่ยงสมุนไพรที่มีฤทธิ์ลดความดัน เช่น ใบมะขามแขก สมุนไพรที่มีฤทธิ์ระบาย: สมุนไพรบางชนิด เช่น ใบเซนน่า มีฤทธิ์ระบาย หากดื่มมากเกินไปอาจทำให้ท้องเสียได้ สมุนไพรที่มีสารเคมีที่เป็นพิษ: สมุนไพรบางชนิดอาจมีสารเคมีที่เป็นพิษ หากรับประทานในปริมาณมาก อาจส่งผลต่อตับและไต ข้อควรระวังในการดื่มสมุนไพรสำหรับผู้สูงอายุ ปรึกษาแพทย์: ก่อนดื่มสมุนไพรชนิดใด ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร เพื่อให้ได้คำแนะนำที่เหมาะสม เลือกซื้อสมุนไพรจากแหล่งที่เชื่อถือได้: ควรเลือกซื้อสมุนไพรจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เพื่อให้ได้สมุนไพรที่มีคุณภาพ สังเกตอาการหลังดื่ม: หากมีอาการผิดปกติ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ผื่นคัน หายใจลำบาก ควรหยุดดื่มทันทีและไปพบแพทย์ ดื่มในปริมาณที่เหมาะสม: ไม่ควรดื่มสมุนไพรในปริมาณมากเกินไป... Continue reading